# ความเป็นมาและแนวทาง
# รูปแบบของ e-University
# การพัฒนาไปสู่การเป็น
e-University
  การประชุมอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Meeting)
  ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Office)
  ระบบการเรียนอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Learning)
  ข่าวอิเล็กทรอนิกส์ (e-News)
  ไวร์เลสแคมปัส
      (Wireless Campus)
  บริการอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Service)
  การสร้างฐานข้อมูลงานวิจัย
      (e-Publication)
  ข่าวสารการเกษตร (e-Ag)
  ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Library)
  พัฒนา/ปรับปรุงระบบฐานข้อมูล
      เพื่อสนับสนุนงานบริหาร
      (e-Mis)
  พัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อม
     ด้านไอที (e-Personal)
  พัฒนาอาจารย์ให้มีความพร้อม
     ด้านไอที (e-Teacher)
  ปรับปรุงและขยายเครือข่าย
     ของมหาวิทยาลัย (e-Campus)
# แผนการดำเนินการในระยะต่อไป
 


วางแผนการให้บริการเครือข่ายแบบไร้สายทั้งในและนอกอาคาร

จัดเตรียมงบประมาณเพื่อเตรียมติดตั้งอุปกรณ์รับส่งสัญญาณหรือแอกเซสพอยต์ (Access Point) ในอาคารหลักของคณะ สำนัก สถาบัน เพื่อให้ผู้บริหารมหาวิทยาลัยสามารถเข้าสู่ระบบการประชุมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-meeting ได้โดยสะดวก

ติดตั้งแอกเซสพอยต์ในบริเวณอื่นๆที่เอื้ออำนวยให้นิสิตและบุคลากรและได้ใช้ประโยชน์จากเครือข่ายไร้สาย เช่น อาคารเรียนรวม โรงอาหาร และบริเวณกิจกรรมนิสิตทั่วมหาวิทยาลัย

ร่วมมือกับสำนักหอสมุดให้บริการเครือข่ายไร้สาย เพื่อให้นิสิตสามารถค้นคว้าและใช้คอมพิวเตอร์ได้สะดวกมากยิ่งขึ้น