# ความเป็นมาและแนวทาง
# รูปแบบของ e-University
# การพัฒนาไปสู่การเป็น
e-University
  การประชุมอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Meeting)
  ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Office)
  ระบบการเรียนอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Learning)
  ข่าวอิเล็กทรอนิกส์ (e-News)
  ไวร์เลสแคมปัส
      (Wireless Campus)
  บริการอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Service)
  การสร้างฐานข้อมูลงานวิจัย
      (e-Publication)
  ข่าวสารการเกษตร (e-Ag)
  ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Library)
  พัฒนา/ปรับปรุงระบบฐานข้อมูล
      เพื่อสนับสนุนงานบริหาร
      (e-Mis)
  พัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อม
     ด้านไอที (e-Personal)
  พัฒนาอาจารย์ให้มีความพร้อม
     ด้านไอที (e-Teacher)
  ปรับปรุงและขยายเครือข่าย
     ของมหาวิทยาลัย (e-Campus)
# แผนการดำเนินการในระยะต่อไป
จัดทำระบบและโปรแกรมเพื่อสนับสนุนการประชุมสภา การประชุมคณบดี และการประชุม อ.ก.ม. สำหรับผู้บริหาร


รูปที่ 1 โฮมเพจการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting)


รูปที่ 2 เมื่อทำการ login เข้าระบบ

จัดอบรมให้แก่ผู้บริหารของมหาวิทยาลัย ได้แก่ อธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี และผู้อำนวยการสำนัก/สถาบัน


รูปที่ 3-4 ผู้บริหารอบรมการใช้ระบบ e-Meeting

จัดอบรมให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้จัดเตรียมข้อมูลสำหรับการประชุม ได้แก่ เจ้าหน้าที่กองกลาง และ เจ้าหน้าที่กองการเจ้าหน้าที่

จัดอบรมให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้จัดเตรียมข้อมูลประจำหน่วยงาน ระดับ คณะสำนัก/สถาบัน

จัดหาโน็ตบุ๊คส่วนกลางสำหรับใช้ในการประชุมของผู้บริหาร

รูปที่ 5 ผู้บริหารประชุมโดยใช้ระบบ e-Meeting ในห้องประชุมกำพลอดุลยวิทย์


จัดทำระบบเครือข่ายในห้องประชุมกำพลอดุลยวิทย์

ประชาสัมพันธ์การใช้ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์


รูปที่ 6 เว็บเพจประชาสัมพันธ์ระบบ e-Meeting