# ความเป็นมาและแนวทาง
# รูปแบบของ e-University
# การพัฒนาไปสู่การเป็น
e-University
  การประชุมอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Meeting)
  ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Office)
  ระบบการเรียนอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Learning)
  ข่าวอิเล็กทรอนิกส์ (e-News)
  ไวร์เลสแคมปัส
      (Wireless Campus)
  บริการอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Service)
  การสร้างฐานข้อมูลงานวิจัย
      (e-Publication)
  ข่าวสารการเกษตร (e-Ag)
  ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Library)
  พัฒนา/ปรับปรุงระบบฐานข้อมูล
      เพื่อสนับสนุนงานบริหาร
      (e-Mis)
  พัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อม
     ด้านไอที (e-Personal)
  พัฒนาอาจารย์ให้มีความพร้อม
     ด้านไอที (e-Teacher)
  ปรับปรุงและขยายเครือข่าย
     ของมหาวิทยาลัย (e-Campus)
# แผนการดำเนินการในระยะต่อไป
 

  • ดำเนินการโครงการ e-MIS ให้ครอบคลุมระบบงานต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย
  • พัฒนาระบบสนับสนุนการเรียนการสอนเพื่อก้าวสู่การใช้ e-Learning
  • ดำเนินการอย่างต่อเนื่องและพัฒนาโครงการเพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนการก้าวสู่การเป็น e-University ที่สมบูรณ์แบบต่อไป
  • ดำเนินโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบเครือข่ายฐานข้อมูลอัจฉริยะทางการเกษตร (Intelligent Agriculture System - e-Ag) ร่วมกับกระทรวงเกษตรฯ ได้แก่
    - พัฒนาระบบเครือข่ายฐานข้อมูลด้านการเกษตร
    - การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบเครือข่ายเตือนภัยทางการเกษตรด้วยระบบผู้เชี่ยวชาญ (Agriculture Warning Systems)
    การให้บริการข้อมูลทางการเกษตรโดยระบบอัจฉริยะ (Intelligent Systems) และการสื่อสารโดยผ่านทางสถานีวิทยุของ กษ. และ มก. รวมทั้งการให้บริการถามตอบข้อมูลผ่านทาง Agriculture Call Center ของ กษ.
    - ร่วมพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลและการทำดัชนีข้อมูล
    - การใช้ระบบ Call Center เพื่อตอบสนองผู้ใช้ข้อมูล