# ความเป็นมาและแนวทาง
# รูปแบบของ e-University
# การพัฒนาไปสู่การเป็น
e-University
  การประชุมอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Meeting)
  ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Office)
  ระบบการเรียนอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Learning)
  ข่าวอิเล็กทรอนิกส์ (e-News)
  ไวร์เลสแคมปัส
      (Wireless Campus)
  บริการอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Service)
  การสร้างฐานข้อมูลงานวิจัย
      (e-Publication)
  ข่าวสารการเกษตร (e-Ag)
  ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
      (e-Library)
  พัฒนา/ปรับปรุงระบบฐานข้อมูล
      เพื่อสนับสนุนงานบริหาร
      (e-Mis)
  พัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อม
     ด้านไอที (e-Personal)
  พัฒนาอาจารย์ให้มีความพร้อม
     ด้านไอที (e-Teacher)
  ปรับปรุงและขยายเครือข่าย
     ของมหาวิทยาลัย (e-Campus)
# แผนการดำเนินการในระยะต่อไป
 

ร่วมมือกับคณะวิศวกรรมศาสตร์นำระบบสนับสนุนการเรียนการสอนผ่าน เครือข่ายนนทรีมาประยุกต์ใช้


รูปที่ 1
ระบบสนับสนุนการสอนผ่านเครือข่ายนนทรี
http://course.ku.ac.th

เตรียมการฝึกอบรมพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบการเรียนการสอน


รูปที่ 2 โครงการพัฒนาระบบสนับสนุนการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายนนทรี

สนับสนุนการจัดทำสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ และหลักสูตรให้แก่อาจารย์ โดย

  • การจัดตั้งศูนย์มัลติมีเดียที่สำนักบริการคอมพิวเตอร์


    รูปที่ 3 การให้บริการที่ศูนย์มัลติมีเดีย

  • ปรับปรุงดัชนีโฮมเพจรายวิชา


    รูปที่ 4 โฮมเพจรายวิชา

  • จัดทำหลักสูตรอิเล็กทรอนิกส์ และ การสร้างสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีเป้าหมาย 10 วิชาภายใน 6 เดือน โดย กองบริการการศึกษา

    พัฒนาระบบการลงทะเบียนเรียนผ่านทางเครือข่าย

  • จัดทำระบบการลงทะเบียนเรียนผ่านเว็บของภาคปกติและภาคพิเศษ


    รูปที่ 5 แสดงหน้าจอระบบงานลงทะเบียนโครงการพิเศษ

  • อบรมการใช้ระบบลงทะเบียนเรียนให้แก่เจ้าหน้าที่โครงการภาคพิเศษ

    พัฒนาระบบการเรียนการสอนทางไกล
  • ฝึกอบรมหลักสูตร "เทคนิคการใช้อุปกรณ์ถ่ายทอดระบบการเรียนการสอนทางไกล" ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานควบคุมห้องการเรียนการสอนทางไกลของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทุกวิทยาเขต รวมทั้งเจ้าหน้าที่เทคนิคของระบบเครือข่าย และอาจารย์ผู้สอน
    รูปที่ 6 ผู้เข้าอบรม ดูงานที่ห้องการเรียนการสอนทางไกล

    การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบการเรียนการสอนทางไกล

    ระยะที่ 1 สำนักบริการคอมพิวเตอร์ จะดำเนินการติดตั้งระบบการเรียนการสอนทางไกล หรือ Video Conferencing System (VCS) เพื่อทดแทนครุภัณฑ์เดิม และเป็นการปรับปรุงประสิทธิภาพ และ การบริหารจัดการ โดยสำนักฯนำระบบ VCS ในแบบ IP Based จำนวน 4 ห้องประชุม คือ ห้องประชุมสุธรรมอารีกุล ห้องประชุมกำพลอดุลวิทย์ ห้องประชุมชั้น 5 อาคารสารนิเทศ 50 ปี ห้องประชุมอาคารศูนย์มหาวิทยาลัย กำแพงแสน

    รูปที่ 7 อาจารย์กำลังบรรยายที่ห้องการเรียนการสอนทางไกล

    ระยะที่ 2 สำนักบริการคอมพิวเตอร์ จะดำเนินการจัดหาระบบการเรียนการสอนทางไกล หรือการประชุมทางไกล เพื่อให้บริการการสอนทางไกล กิจการพิเศษ และกิจกรรมต่างๆ ของมหาวิทยาลัย

    พัฒนาจัดทำสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Courseware)

    พัฒนาจัดทำสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยได้เริ่มเปิดใช้งานในภาคต้น ปีการศึกษา 2547 จำนวน 2 สาขาวิชา คือ
    1. สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 1 รายวิชา
    ประกอบด้วย 1 วิชาย่อยคือ
    1. วิชา 355113 วิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3
    2. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ 3 รายวิชา
    ประกอบด้วย 3 วิชาย่อยคือ
    1. วิชา 417167 คณิตศาสตร์วิศวกรรมศาสตร์ I
    2. วิชา 417111 แคลคูลัส I
    3. วิชา 417267 คณิตศาสตร์วิศวกรรมศาสตร์ III

    รูปที่ 8 แสดงหน้าจอระบบ e-Courseware
    http://ecourseware.ku.ac.th

    เปิดตัว e-Edutainment ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

    รูปที่ 9 แสดงหน้าจอ Multicast Network TV
    http://tv.ku.ac.th